Home > Blogging > Runeอีกหนึ่งระบบที่สร้างสีสันในเกมdota

Runeอีกหนึ่งระบบที่สร้างสีสันในเกมdota

Runeอีกหนึ่งระบบที่สร้างสีสันในเกมdota

          การเล่นเกม dota นั้นการสร้างจังหวะโจมตี การสังหาร การฟาร์มครีปในเลน การฟาร์มครีปป่า การปัก Ward การทำบายป้อมปราการ การป้องกันบ้าน

ทุกๆ อย่างที่ต้องทำในเกมนั้นบ้วนสำคัญ เพราะการสร้าวความแตกต่างเพียงเล็กน้อยใน้กมจะทำให้เกิดความแตกต่างเป็นอย่างมากระหว่างทั้ง 2 ทีม และการเก็บ Rune ก็ถือเป็นหนึ่งในนั้น

          Rune ในเกม dota คือสิ่งที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาของเกม ในตำแหน่งที่เกิดขึ้นคือ กลางแม่น้ำโดยจะแบ่งเป็นทั้งสองข้างของแม่น้ำที่ตัดแบ่งแผนที่

(ซึ่งจะเกิดทั้ง 2 ตำแหน่งพร้อมๆกัน โดยอันหนึ่งจะเป็น Bounty Rune ส่วนอีกอันจะเป็น Rune อื่นๆ) และจะเกิดขึ้นทุกๆ 2 นาที โดย Rune เป็นตัวช่วยส่งเสริมสร้างความได้เปรียบให้แก่ทั้ง 2 ฝ่าย ประหนึ่งไอเท็มชิ้นหนึ่ง

ตั้งแต่เงินที่ได้รับจนไปถึงค่าสเตตัสต่างๆ ไม่ต่างจากการออกไอเทมอัพเกต Rune จึงเป็นสิ่งที่ทั้งสองทีมให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เรียกได้ว่าในนาทีนั้นใครได้ครอบครองก็อาจจะสร้างความแตกต่างของไอเทมไปจนถึงความแตกต่างในการต่อสู้เลยทีเดียว โดย Rune ใน dota จะมีทั้งหมด 7 ประเภท ได้แก่

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

Runeอีกหนึ่งระบบที่สร้างสีสันในเกมdota

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

Runeอีกหนึ่งระบบที่สร้างสีสันในเกมdota

          Bounty Rune จะเกิดขึ้นในช่วงเวลานับถอยหลังเริ่มเกมในนาทีที่ 0 ทั้งสองฝั่งพร้อมกัน ทำให้เกิดการแย่งชิงขึ้นในพื้นที่ทั้ง 2 ฝ่าย เพราะรูนนี้จะมอบเงิน

และค่าประสบการณ์ให้แก่ทั้งทีมของฝ่ายที่เก็บได้ โดยจะได้รับเงิน 100 และค่าประสบการณ์ 100 และเมื่อเริ่มเกมจะเริ่มต้นเกมในนาทีที่ 5 จะนับที่ค่าประสบการณ์ 50 และเงิน 60 ฝ เวลาผ่านไปจำนวนเงินและค่าประสบการณ์ที่ได้รับจะเพิ่มมากขึ้น ค่าประสบการณ์ +25

และเงิน +10 เพิ่มขึ้นจากค่าที่แล้ว โดยจะเกิดขึ้นทุกๆ 5 นาที และจำนวนเงินที่จะได้รับและค่าประสบการณ์ที่จะได้รับ จะสูงสุดในนาทีที่ 90 เป็นค่าประสบการณ์ 475 และเงิน 230

บทความโดย รูเล็ต

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *